ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE มีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT ประเภทที่ 2 แบบที่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หากสังเกตดูจากรูป ใต้เหล็กแผ่นจะมีการเทให้เต็มด้วย NON-SHRINK … Read More

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน ยางมะตอย ก็คือ วัสดุที่สกัดได้จากน้ำมันดิบ มีลักษณะเป็นสีดำ มีความเหนียว และความหนืดที่ค่อนข้างจะต่ำ ยางมะตอยนิยมใช้ในงานการก่อสร้างทางและถนนเป็นหลัก โดยที่จะใช้เป็นวัสดุปิดทับที่ผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยก็คือจะทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุหยาบ เช่น หิน ทราย เป็นต้น โดยจะช่วยทำให้การผสมนั้นเข้ากันจนเป็นเนื้อเดียวกันได้ดียิ่งขึ้น โดยวัสดุที่ถูกนำมาใช้ในการเทผิวหน้าของถนนนั้นจะมีชื่อเรียกแบบเต็มๆ ว่า แอสฟัลท์ติกคอนกรีต หรือ … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่ คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ 1. คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน(Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า … Read More

คอนกรีตทนน้ำเค็ม

คอนกรีตทนน้ำเค็ม คุณสมบัติ ในน้ำเค็มจะมีสารประกอบหลักที่สำคัญคือคลอไรด์ โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วยโซเดียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอไรด์ แคลเซียมคลอไรด์ ดังนั้น ในการออกแบบคอนกรีตทนน้ำเค็ม จึงอาศัยหลักการป้องกันการซึมผ่านของสารครอไรด์ และการจับยึด ไม่ให้คลอไรด์เข้าไปทำปฏิกิริยากับเหล็กเสริมจนเป็นสนิม โดยทั่วไป สามารถแบ่งสภาพแวดล้อม การสัมผัสกับบรรยากาศทะเล ของโครงสร้างคอนกรีตได้สี่สภาวะดังนี้ + สภาวะที่ 1 โครงสร้างสัมผัสกับไอทะเล + … Read More

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก)

คอนกรีตที่ดีต้องบ่ม (ให้สุก) เมื่อเทคอนกรีตเสร็จแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้เอง แต่ยังไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ถ้าต้องการให้คอนกรีตมีคุณภาพที่ดี มีความแข็งแรงทนทาน และใช้งานได้นาน ต้องทำการบ่มคอนกรีตเสียก่อน ซึ่งเมื่อผสมคอนกรีตต้องใช้น้ำในการผสม จะทำให้เกิดปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ เรียกว่าปฏิกิริยาไฮเดรชันทำให้คอนกรีตแข็งตัวและรับกำลังได้ ปกติแล้วคอนกรีตสามารถแข็งตัวได้ภายใน 5 –6 ชั่วโมง ภายหลังจากการผสมน้ำ และมีกำลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งการเพิ่มกำลังของคอนกรีตไม่สามารถแยกได้ด้วยการดูจากตาเปล่า คือไม่สามารถบอกได้ว่าคอนกรีตที่เทพื้น กับคอนกรีตที่เทคาน … Read More

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต

รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต ก่อนการเทคอนกรีตทุกครั้ง ควรต้องทำการตรวจสอบค่าการยุบตัวของ ตัวอย่างคอนกรีต ซึ่งการทดสอบอาจปฏิบัติตามวิธีการที่ได้มีระบุเอาไว้ในมาตรฐาน ASTM C143/C143M ในภาษาอังกฤษ คือ STANDARD TEST METHOD FOR SLUMP OF HYDRAULIC-CEMENT CONCRETE โดยเมื่อทำการเก็บ ตัวอย่างของคอนกรีตมาทำการทดสอบแล้ว … Read More

คอนกรีตกันซึม

คอนกรีตกันซึม คุณสมบัติ คอนกรีตชนิดนี้ เป็นคอนกรีตที่ถูกออกแบบมาให้มีความทึบน้ำ มากกว่าคอนกรีตปกติ โดยมีค่าการซึมผ่านของน้ำในระดับต่ำ ตามมาตรฐาน DIN 1048 ส่วนผสมคอนกรีตประเภทนี้มีการผสมน้ำยาประเภทกันซึม ลดปริมาณน้ำที่ใช้ในส่วนผสม และหน่วงการก่อตัว ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตประเภทนี้ เหมาะสำหรับงานที่ต้องการป้องกันการซึมผ่านของน้ำ มากกว่าคอนกรีตปกติ … Read More

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา” ในทุกงานก่อสร้างย่อมต้องเจอกับปัญหา ไม่ว่าจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่ เพราะงานก่อสร้างจำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมงาน หัวหน้าคนงาน คนงาน ผู้รับเหมาหลัก ผู้รับเหมาย่อย ผู้ควบคุมงาน ผู้จัดการโครงการ เป็นต้น ยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดจาก … Read More

ประเภทของดิน คุณสมบัติและมีความแตกต่าง

ประเภทของดิน คุณสมบัติและมีความแตกต่าง ลักษณะของดินสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ โดยลักษณะความแตกต่างกันของดินทั้ง 2 ประเภทนี้ก็คือ ขนาดของเม็ดดิน และคุณสมบัติของค่า c หรือ ค่าหน่วยแรงยึดเหนี่ยวของมวลดิน และค่า Ø หรือ ค่ามุมเสียดทานภายในของมวลดิน ดิน 2 ประเภทดังกล่าวจะประกอบด้วย … Read More

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง ฐานรากถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโครงสร้างง และต้องให้ความสำคัญและใส่ใจเป็นพิเศษ หากไม่สามารถรับน้ำหนักของโคงสร้างได้จะเกิดความเสียหายเป็นอย่ามากกับการก่อสร้าง จึงต้องออกแบบฐานรากให้แข็งแรง ให้มีความเพียงพอที่จะรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างได้ ทั้งนี้การจะก่อสร้างได้นั้น เพื่อให้ได้ฐานรากที่แข็งแรง ควรเจาะสำสภาพของดินดูว่าสามารถรองรับการสร้างอาคารได้หรือไม่ เพราะสภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ … Read More

1 2 3